อาจารย์สำเภา โยธี

ชื่อ – นามสกุล: 
นายสำเภา โยธี
ชื่อ – นามสกุล ภาษาอังกฤษ: 
Mr. Sumpao Yotee

สังกัดสาขาวิชา: 
ครุศาสตร์อุตสาหการเชื่อมประกอบ

ตำแหน่งทางบริหาร: 

ตำแหน่งทางวิชาการ: 
อาจารย์

ติดต่อ
โทรศัพท์มือถือ: 087-6405269
อีเมล์ติดต่อ: Sumpao.yo@rmuti.ac.th
ที่อยู่: 150 ถ.ศรีจันทร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000
โทรศัพท์: 043-336370-1

วุฒิการศึกษา 
ปริญญาเอก :

ปริญญาโท :
2556 วศ.ม. วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ปริญญาตรี :
2549 วศ.บ. วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น  
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง: 
2546 ป.ว.ส. สาขาช่างโลหะ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น

ประวัติด้านการทำงาน
1.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ขอนแก่น
ประจำสาขาวิชา  ค.อ.บ.วิศวกรรมการเชื่อม   ปี พ.ศ. 2552-ปัจจุบัน
2. AHCL (Thailand)  co,.ltd  ตำแหน่ง Engineer  ปี พ.ศ. 2551-2552
3.Tokairika (Thailand) co,.ltd    ตำแหน่ง Group leader ปี พ.ศ. 2550-2551

ความเชี่ยวชาญพิเศษ
– งานเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
– การตรวจสอบวัสดุงานเชื่อมแบบไม่ทำลาย
– การปรับปรุงคุณสมบัติทางกลของโลหะด้วยความร้อน

ประวัติการสอบผ่านมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ
1.  เลขทะเบียนที่  ขก ……../งปม. 2560  ช่างเชื่อมทิก (GTAW) ระดับ 1
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 6 ขอนแก่น  2560
2.  เลขทะเบียนที่  ขก ……../งปม. 2560  ช่างเชื่อมแม๊ก (GMAW) ระดับ 1
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 6 ขอนแก่น  2560
3.  เลขทะเบียนที่ ขก ………./งปม. 2560 ช่างเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (SMAW) ระดับ 1
กรมพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 6 ขอนแก่น  2560


ประวัติด้านที่ปรึกษาบริษัท
ตำแหน่ง  Engineer
บริษัท AHCL (Thailand)  co,.ltd  จังหวัดชลบุรี


ผลงานด้านการวิจัยตีพิมพ์ฐานข้อมูล TCI

  1. กรกนก วรหาญ, อุมาพร กัสนุกา, วิรัช ชินพลอย, สำเภา โยธี, กิตติพล ขาวงาม, สุภาพร แสนกุล และนราธิป สุพัฒน์ธนานนท์. (2567). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโดยใช้สื่อแอนิเมชั่นช่วยสอน เรื่อง ลวดเชื่อมไฟฟ้าหุ้มฟลักซ์. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, ปีที่ 11, ฉบับที่ 3, หน้า 71-82. DOI: https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/272487. [TCI กลุ่ม 2]
  2. ปริญญวัตร ทินบุตร, สำเภา โยธี*, นราธิป สุพัฒน์ธนานนท์ และธีรวุฒิ ศรีพันธ์ชาติ. (2567). ผลของชนิดสารเติมและกระแสไฟเชื่อมต่อความแข็งของโลหะเชื่อมในกระบวนการเชื่อมใต้ฟลักซ์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ปีที่ 26 ฉบับที่ 2. หน้า 97-109. DOI: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/sci_ubu/article/view/260705. [TCI กลุ่ม 1]
  3. Thongchai Khrueaphue, Wirat Chinploy, Parinyawatr Dhinnabutra, Sumpao Yotee, Umaporn Kassanuka, Kornkanok Woraharn. (2561). Study on metallurgical properties of semi-solid metal aluminum alloy 5083 weldingby gas metal arc welding. Naresuan Phayao Journal, Vol. 11, No. 3, pp. 69-72. DOI: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/journalup/article/view/184642/129955.[TCI Q1]

ผลงานด้านงานวิจัยประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

  1.  สุภาพร แสนกุล, กรกนก วรหาญ, อุมาพร กัสนุกา, ปริญญาวัตร ทินบุตร, วิรัช ชินพลอย, สำเภา โยธี และกิตติพล ขาวงาม. (2563). การศึกษาเวลามาตรฐานโดยใช้ระบบ MTM กรณีศึกษา: แบบหล่อ. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการราชมงคลด้านเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการ, 28-29 พฤษภาคม 2563, จันทบุรี: โรงแรมเคฟีแกรนด์. [TH]
  2. ธงชัย เครือผือ, สำเภา โยธี,  อดุลย์ ทองดา,  ณัฐพงษ์ ไชยพิมูล,  พรวิษา แนบพุดซา  “การศึกษาสมบัติทางโลหะวิทยาของอะลูมิเนียมหล่อกึ่งของแข็ง 5083 จากการเชื่อมอาร์คทังสเตนโดยใช้ก๊าชปกคลุมแนวเชื่อม (GTAW) และการเชื่อมอาร์คโดยใช้กาชปกคลุมแนวเชื่อม (GMAW)”  การประชุมสวนสุนันทาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับชาติ ครั้งที่ 1 วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  3. วิรัช ชินพลอย,  ธงชัย เครือผือ,  ปริญญวัตร ทินบุตร,  สำเภา โยธี,  อุมาพร กัสนุกา,  กรกนก วรหาญ,  จักรพล คงจา,  จตุรง บุญตา,  สินทวี แป้นทองหลาง  “การศึกษาตัวแปรเบื้องต้นของการเชื่อมอะลูมิเนียมหล่อกึ่งของแข็ง 5083 ด้วยกระบวนการเชื่อมแม๊ก (GMAW)”  การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจาปี พ.ศ. 2561 “วิจัย นวัตกรรม สู่การไปใช้ประโยชน์” วันที่ 13 – 14 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคาร 100 ปี ศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  4. ธงชัย เครือผือ,  วิรัช ชินพลอย,  ปริญญวัตร ทินบุตร,  สำเภา โยธี,  อุมาพร กัสนุกา,  กรกนก วรหาญ  เจษฐา ภูคดหิน,  ณัฐวัฒน์ คาโคตร,  สัมฤทธิ์ บุญกลิ่ม  “ออกแบบการทดลองเพื่อเปรียบเทียบชนิดของลวดเชื่อมที่ส่งผลต่อการเชื่อมพอกผิวแข็งรางรถไฟขนาด 100 ปอนด์ โดยการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์”   การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจาปี พ.ศ. 2561 “วิจัย นวัตกรรม สู่การไปใช้ประโยชน์” วันที่ 13 – 14 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคาร 100 ปี ศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  5. ธงชัย เครือผือ,  วิรัช ชินพลอย,  ปริญญวัตร ทินบุตร, สำเภา โยธี,  อุมาพร กัสนุกา,  กรกนก วรหาญ  เจษฐา ภูคดหิน,  ณัฐวัฒน์ คาโคตร,  สัมฤทธิ์ บุญกลิ่ม  “ออกแบบการทดลองเพื่อเปรียบเทียบชนิดของลวดเชื่อมที่ส่งผลต่อการเชื่อมพอกผิวแข็งรางรถไฟขนาด 100 ปอนด์ โดยการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์”   การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจาปี พ.ศ. 2561 “วิจัย นวัตกรรม สู่การไปใช้ประโยชน์” วันที่ 13 – 14 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคาร 100 ปี ศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

  1. ประวัติการฝึกอบรม
  2. 2552  :  การตรวจสอบโดยใช้คลื่นความถี่สูง ระดับ 1 สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ

  1.  ประวัติการเป็นวิทยากร
  2. 2560   :  โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการเชื่อมขั้นสูง  มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์
    2560   :  โครงการอบรมการจัดการเรียนการสอนในด้านโลหะวิทยาและการตรวจสอบวัสดุแบบไม่ทาลายสภาพ แผนกช่างเชื่อมโลหะ วิทยาลัยสารพัดช่างนครราชสีมา
    2561   :  โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อยกระดับมาตรฐานฝีมือสาขาเชื่อมแม๊ก (GMAW)  บริษัท ออโต้โมชั่นเวิร์ค จากัด (AMW)

++++++ อาจารย์ประจำสาขาวิชา++++++