ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กรกนก วรหาญ

ชื่อ – นามสกุล ภาษาไทย:
ดร. กรกนก  วรหาญ
ชื่อ- นามสกุล  ภาษาอังกฤษ: 
Miss. Kornkanok Woraharn
สังกัดสาขาวิชา: 
ครุศาสตร์อุตสาหกรรมการเชื่อม
ตำแหน่งทางบริหาร:  
ผู้ช่วยคณบดีด้านพัฒนาหลักสูตรระดับอาชีวศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษา
หัวหน้าสาขาวิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรมการเชื่อม
ตำแหน่งทางวิชาการ :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์


ติดต่อ
โทรศัพท์มือถือ: 063-1288878
อีเมล์: kornkanok.sa@rmuti.ac.th
ที่อยู่: 150 ถนนศรีจันทร์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40000
โทรศัพท์: 043-336370-1


วุฒิการศึกษา 
ปริญญาเอก:
2564 ค.ด. หลักสูตรและการเรียนการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ปริญญาโท: 
2551  ค.อ.ม. วิศวกรรมอุตสาหการ  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ปริญญาตรี:
2548  ค.อ.บ. วิศวกรรมอุตสาหการ  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง: 
2546 ป.ว.ส. สาขาช่างโลหะ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น


ประวัติด้านการทำงาน
1. 2559-ปัจจุบัน  อาจารย์ประจำสาขาวิชา  ค.อ.บ. เชื่อมประกอบ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ขอนแก่น
2. 2548-2550 อาจารย์ประจำสาขาวิชาช่างเชื่อม วิทยาลัยเทคนิคขอนแก่น
 


ความเชี่ยวชาญพิเศษ        
1. แผนการสอน
2. การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน


ประวัติด้านที่ปรึกษาบริษัท
1. ตำแหน่ง  วิทยากรที่ปรึกษา บริษัท เอคเซ็คเล็นท์ แอนด์ คอนซัลทิง  เอ็นจิเนียริ่ง จากัด 60/220 หมู่ 3 ตาบลบึง  อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 20230


 

ผลงานด้านการวิจัยตีพิมพ์ฐานข้อมูล TCI
 
  1. กรกนก วรหาญ, นิรุต ถึงนาค และชมพูนุท เมฆเมืองทอง. (2565). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมแบบผสมผสาน เพื่อเตรียมความพร้อม สู่อาชีพช่างเชื่อม สำหรับนักศึกษาครูช่างอุตสาหกรรม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, ปีที่ 11, ฉบับที่ 1, หน้า 155-173. DOI: https://so06.tci-thaijo.org/index.php/hsudru/article/view/253338.[TCI Q2]
  2. กรกนก วรหาญ, นิรุต ถึงนาค และชมพูนุท เมฆเมืองทอง. (2564). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมแบบผสมผสานโดยใช้เทคนิค TOP- 5 STEPS Model เรื่อง การเชื่อมอาร์กโลหะด้วยมือ ระดับ 1. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ปีที่ 4, ฉบับที่ 12, หน้า 19-28. DOI: https://so02.tci-thaijo.org/index.php/etcedumsujournal/article/view/249242.[TCI Q2]
  3. Thongchai Khrueaphue, Wirat Chinploy, Parinyawatr Dhinnabutra, Sumpao Yotee, Umaporn Kassanuka, Kornkanok Woraharn. (2561). Study on metallurgical properties of semi-solid metal aluminum alloy 5083 weldingby gas metal arc welding. Naresuan Phayao Journal, Vol. 11, No. 3, pp. 69-72. DOI: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/journalup/article/view/184642/129955.[TCI Q1]

ผลงานด้านงานวิจัยประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

  1.  สุภาพร แสนกุล, กรกนก วรหาญ, อุมาพร กัสนุกา, ปริญญาวัตร ทินบุตร, วิรัช ชินพลอย, สำเภา โยธี และกิตติพล ขาวงาม. (2563). การศึกษาเวลามาตรฐานโดยใช้ระบบ MTM กรณีศึกษา: แบบหล่อ. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการราชมงคลด้านเทคโนโลยีการผลิตและการจัดการ, 28-29 พฤษภาคม 2563, จันทบุรี: โรงแรมเคฟีแกรนด์. [TH]
  2. ธงชัย เครือผือ,  วิรัช ชินพลอย,  ปริญญวัตร ทินบุตร,  สำเภา โยธี,  อุมาพร กัสนุกา,  กรกนก วรหาญ, วีระชัย โล่ห์ชัย, จีรนันท์ ปรือทอง, คุณปรียา นาดี. (2561). การศึกษาสมบัติทางกลจากการเชื่อมพอกผิวแข็งรางรถไฟ  โดยกระบวนการเชื่อมอาร์กด้วย  ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจาปี พ.ศ. 2561 “วิจัย นวัตกรรม สู่การไปใช้ประโยชน์”  วันที่ 13 – 14 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคาร 100 ปี ศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
  3. ธงชัย เครือผือ,  วิรัช ชินพลอย,  ปริญญวัตร ทินบุตร,  สำเภา โยธี,  อุมาพร กัสนุกา,  กรกนก วรหาญ,  เจษฐา ภูคดหิน,  ณัฐวัฒน์ คาโคตร,  สัมฤทธิ์ บุญกลิ่ม. (2561). ออกแบบการทดลองเพื่อเปรียบเทียบชนิดของลวดเชื่อมที่ส่งผลต่อการเชื่อมพอกผิวแข็งรางรถไฟขนาด 100 ปอนด์ โดยการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจาปี พ.ศ. 2561 “วิจัย นวัตกรรม สู่การไปใช้ประโยชน์” วันที่ 13 – 14 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคาร 100 ปี ศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
  4. วิรัช ชินพลอย,  ธงชัย เครือผือ,  ปริญญวัตร ทินบุตร,  สำเภา โยธี,  อุมาพร กัสนุกา,  กรกนก วรหาญ,  จักรพล คงจา,  จตุรง บุญตา,  สินทวี แป้นทองหลาง. (2561). การศึกษาตัวแปรเบื้องต้นของการเชื่อมอะลูมิเนียมหล่อกึ่งของแข็ง 5083 ด้วยกระบวนการเชื่อมแม๊ก (GMAW). การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจาปี พ.ศ. 2561 “วิจัย นวัตกรรม สู่การไปใช้ประโยชน์” วันที่ 13 – 14 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ณ อาคาร 100 ปี ศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
  5. ธงชัย เครือผือ,  วิรัช ชินพลอย,  ปริญญวัตร ทินบุตร,  กรกนก วรหาญ,  อุมาพร กัสนุกา. (2560). การศึกษาสมบัติทางกลของอะลูมิเนียมหล่อกึ่งของแข็งด้วยกระบวนการเชื่อมแบบ TIG และกระบวนการเชื่อมแบบ MIG.  การประชุมสวนสุนันทาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับชาติ ครั้งที่ 1 “ความสร้างสรรค์และนวัตกรรมก้าวสู่ประเทศไทย 4.0” วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

ประวัติการฝึกอบรม

2560 :
     1. วิทยากรโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการครูช่างบริษัท  ช.ทวี จำกัด(มหาชน) จ.ขอนแก่น

     2. วิทยากรโครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการทำวิจัยในชั้นเรียนวิทยาลัยการอาชีพ  จ.ขอนแก่น


 ประวัติการเป็นวิทยากร

     1. โครงการบริการให้คำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยกำหนดให้เป็นกิจกรรมที่ 4 การถ่ายทอดเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในครัวเรือน ณ เทศบาลตำตลม่วงหวาน อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น (24 มิถุนายน 2564)
     2. โครงการอบรมเชิงปฎิบัติการเพิ่มศักยภาพบุคลากรคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มทร.อีสาน ขอนแก่น
     3. สัมมนาเชิงปฏิบัติการวางแผนพัฒนาระบบอีเลิร์นนนิ่ง มทร. นครราชสีมา
     4. โครงการเพิ่มศักยภาพของการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  มทร.อีสาน ขอนแก่น


ประวัติด้านงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

2561 :
     1. โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษาและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นกิจกรรมหล่อโลหะประเพณีฮีตสิบสองคลองสิบสี่ วันที่ 19-20 ธันวาคม 2561 ณ สาขาวิชาวิศวกรรมการเชื่อม คณะคุรุศาสตร์อุตสหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานวิทยาเขต ขอนแก่น.


ประวัติด้านงานบริการวิชาการ


++++++ อาจารย์ประจำสาขาวิชา++++++